Dairy and KM


ดิฉันไม่เคยทำเว็บเควสหรือรู้จักเว็บเควสมาก่อน รวมถึงการทำบล็อกที่จริงจังแบบนี้ เว็บเควสเป็นนวัตกรรมใหม่ของเมืองไทยที่ไม่ค่อยมีใครรู้จักหรือนำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ แต่อ.มธุรสทำให้คนไทยรู้จักและสามารถปรับใช้ได้กับการเรียนการสอนได้อย่างจริงจัง ดิฉันได้เรียนรู้ขั้นตอนวิธีการจัดทำเว็บเควสอย่างละเอียด ก็สามารถทำได้จริงๆ แต่จะทำใด้ดีมากยิ่งขึ้น หากนำไปใช้บ่อยๆกับผู้เรียน เว็บเควสทำได้ไม่ยากอย่างที่คิด ตอนแรกคิดว่าตนเองจะทำได้หรือเปล่า อ.มธุรสก็สอนและแนะแนวการทำทุกอย่างจนทำใด้สำเร็จ ขอขอบพระคุณอ.มธุรสเป็นอย่างสูงอีกครั้งค่ะ ที่ทำให้หนูได้รู้จักเว็บเควสซึ่งมันจะไม่เป็นความลับอีกต่อไป และการทำบล็อก แรกๆทำไม่ได้เลย และเป็นคนใจร้อน เครื่องช้าอืดเมื่อไหร่ ปิดเลยไม่ทำต่อ แต่วันนี้ลองอดทนกับบล็อกสักตั้ง ก็ทำได้จริงๆค่ะอาจารย์ หนูมองเห็นภาพรวมของบล็อกว่าควรจะออกมาแบบไหนที่หนูต้องการให้เป็น วันนี้หนูทำบล็อกสำเร็จแล้วค่ะหลังจากพยายามทำบล็อกเสียมาแล้วสองครั้ง ครั้งที่สามนี้หนูคิดว่าหลายคนคงไม่ผิดหวังนะคะ
ล่าสุดที่ไปนำเสนออาจารย์เกี่ยวกับวิธีการทำเว็บเควสของตัวเอง โอโห คิดไม่ค่อยออกว่าจะเตรียมตัวอย่างไร รู้ไหมคะ ไปเตรียมตัวในห้องสอบนั่นแหล่ะคะ โอ พี่คนแรกนำเสนอ คนที่สองก็โดน คนที่สามก็โดน (โดนแชะ) อิอิ แล้วเราจะรอดไหมนี่ ท้ายที่สุดก็ผ่านไปได้ด้วยดีค่ะ ขอบพระคุณอาจารย์มธุรสเป็นอย่างสูงที่เมตตาศิษย์นะคะ ขอบคุณเพื่อน พี่นิสิตป.โท สาขา หลักสูตรและการสอนมากๆค่ะ ที่แนะนำและให้กำลังใจกันเสมอมา
สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียน
162531 เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาหลักสูตรและการสอน
Information Technology in Curriculum and Instruction Development
ได้ดังนี้คือ
ความรู้จาก Group Work set 1gr 1
Web–Based Instruction / Web–Based Learning (WBT - WBL)
คือ รูปแบบการเรียนการสอนผ่านทาง เว็บไซต์ หรือ เว็บบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นันเอง ครูสามารถพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนดังกล่าว ด้วยการนำสืออิเล็กทรอนิกส์หลากหลายมาผสมผสานกัน เช่น ข้อความ ภาพนิง ภาพกราฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคลือนไหว และ เสียง ( multimedia ) เพือถ่ายทอดเนือหาบทเรียนหรือองค์ความรู้ในลักษณะทีใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียน โดยมีเป้าหมาย คือ การดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และ การกระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดความต้องการทีจะเรียนรู้
WBI - WBL สามารถทีจะมีองค์ประกอบได้ ดังนี
1. ข้อมูลหลักสูตร    2. โครงสร้างหลักสูตร  3. อุปกรณ์หรือสือทีใช้ในการเรียนการสอน  4. วิธีการติดต่อสือสาร เช่น การติดต่อผ่านเว็บบอร์ด หรือ อีเมล์  5. รูปแบบการประเมิน  6. แบบฝึกหัดหรือผลงานผู้เรียน 7. แหล่งข้อมูลทีสำคัญอืนๆ
******************************************************************************

 ความรู้จาก Group Work set 1gr  2   : e-Learning / m-Learning / u-Learning
Electronic learning หรือ e-Learning คือ กระบวนการเรียนการสอนด้วยการถ่ายทอดเนื้อหาข้อมูล
ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต ซีดีรอม วิดีโอ (video tape)
สัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) เป็นต้น โดยใช้คอมพิวเตอร์
เชื่อมโยงกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และการ
แลกเปลี่ยนความรู้ โดยรูปแบบการเรียนการสอนนั้นจะอยู่ในรูปของการสอน
ทางเดียวมีการติดต่อกันทางเดียวโดยผู้เรียนเรียนรู้ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร ์
ซึ่งแม้ว่าจะอยู่กันคนละสถานท คนละเวลากัน ก็สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้
แลกเปลี่ยนข้อมูลต่างๆได้อย่างไม่จำกัด
******************************************************************************
Online Learning คือ การเรียนรู้แบบออนไลน์ เป็นประสบการณ์การเรียนรู้ทีส่งผ่านคอมพิวเตอร์
และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือ การเรียนการสอนทีถ่ายทอดผ่านสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) เช่น
สือ Videotape Audio tape สัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณคอมพิวเตอร์ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) และอืนๆ
โดยเน้นว่าเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์
Online Learning จึงหมายถึง การเรียนรู้และสือสารผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet)
ซึงการเรียนในลักษณะนีจะมีความแตกต่างกับการเรียนในชันเรียนปกติทีผู้เรียนจะได้พบปะพูดคุยกับ
อาจารย์และเพื่อนร่วมชัน (face to face) ซึงมีข้อจำกัดในเรืองของเวลาและสถานที่ขณะการเรียนแบบ
Online learning จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกเวลาที่ตนต้องการเรียนและสถานที่ไดโดยทีผู้เรียนต้องมี
คอมพิวเตอร์ทีเชือมต่อเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็
การเรียนแบบผสมผสานหรือกึงออนไลน์ (Blended Learning) เป็นการผสมผสานกับวิธีการด้าน
ต่างๆ ได้แก่ วิธีการเรียน สื่อการสอน และเทคนิคการสอน เพือนำสิงต่างๆ เหล่านีมาใช้ในการจัดการเรียน
การสอนที่ทำให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้ได้ง่ายและยังทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และทักษะ อีกทังยังมีส่วนช่วยให้ครูสามารถสอนผู้เรียนได้ทังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ซึงจากความหมาย
ดังกล่าวนี จะพบว่าวิธีการเรียนแบบผสมผสานหรือกึงออนไลน์ทีใช้อยู่นันก็คือ การเรียนการสอนที
ผสมผสานร่วมกันระหว่างการเรียนแบบปกติหรือในชันเรียนกับการเรียนแบบออนไลน์หรือการเรียนทีใช้
คอมพิวเตอร์เป็นสือหลัก ซึงจะพบว่าการเรียนการสอนแบบนีเป็นการประยุกต์ใช้IT มาช่วยในการเรียนการ
สอน โดยนอกจากใช้คอมพิวเตอร์ เราอาจใช้โทรศัพท์มือถือ หรือสืออิเล็กทรอนิกส์อืนๆ ก็ได้ โดยเป้าหมาย
ของการเรียนแบบผสมผสานหรือกึงออนไลน์นัน มีดังนี
1. เพือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสปฏิบัติจริง เกิดทักษะด้านการปฏิบัติ
2. ผู้เรียนและผู้สอนมีอิสระในการเรียนการสอนมากขึน
******************************************************************************
*****************************************************************************
ความรู้จาก Group Work set 3 gr 1การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
เครืองมือทีใช้ในการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment Toolbox)
ในการประเมินตามสภาพจริงนัน มีเครืองมือทีใช้ในการประเมินอยู่หลายประเภท รวมถึงยังมีการ
ใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบ Rubric ด้วย เครองมือทีใช้โดยทัวไปในการประเมินตามสภาพจริง ได้แก่
1. แบบทดสอบ
2.การสอบถาม (ทีเป็นคำถามโดยให้นักเรียนได้ใช้ความรู้มาประยุกตอบ หรืออาจเป็นคำถาม
ปลายเปิด)
3. การสัมภาษณ์
4. การทำแบบฝึกหัด
5. การบันทึกสะท้อนผลงาน
6. การทำชินงาน หรือ โครงงาน
7. การอภิปราย
8. แผนผังความคิด
9. การประเมินตนเอง
10. การทำแฟ้มสะสมงาน
*****************************************************************************
ความรู้จาก Group Work set 3 gr 2
รูบริคเป็นเครืองมือให้คะแนนชนิดหนึง ใช้ในการประเมินการปฏิบัติงานหรือผลงานของนักเรียน
รูบริคประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เกณฑ์ทีใช้ประเมินการปฏิบัติหรือผลผลิตของนักเรียน และระดับคุณภาพ
หรือระดับคะแนน เกณฑ์จะบอกผู้สอนหรือผู้ประเมินว่าการปฏิบัติงานหรือผลงานนัน ๆจะต้องพิจารณาสิง
ใดบ้าง ระดับคุณภาพหรือระดับคะแนนจะบอกว่า การปฏิบัติหรือผลงานทีสมควรจะได้ระดับคุณภาพหรือ
ระดับคะแนนนัน ๆ ของเกณฑ์แต่ละตัวมีลักษณะอย่างไร รูบริค จึงเป็นเหมือนการกำหนดลักษณะเฉพาะ
(Specification) ของการปฏิบัติหรือผลงานนัน ๆ ในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ หรือทัง 2 ประการ
รวมกัน ทั้งนี ขึนอยู่กับ เป้าหมายของการประเมิน           
*****************************************************************************
ความรู้จาก Group Work set 3 gr 2 :แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) / เกณฑ์การประเมินแบบRubrics
ตัวอย่าง และ เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้
แฟ้มสะสมผลงาน( portfolio) หมายถึงแหล่งรวมข้อมูลที􀃉จัดทำขึ􀃊นอย่างเป็นระบบโดยข้อ
มูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ประเมินผลการทำงาน เพ􀃉ือพัฒนาและปรับปรุงการทำงานใหส้ มบูรณ์
ยิงขึนต่อไป การเก็บรวมรวมข้อมูล จึงควรครอบคลุมงานประเภทต่างๆ ทีเป็นหลักการสำคัญในการจัดทำ
แฟ้มสะสมงาน
โดยมีเป้าหมายดังนี้
1. เพือให้เจ้าของแฟ้มได้ประเมินตนเองว่า ผลการเรียนรู้หรืองานทีทำเป็นอย่างไร ประสบผลสำเร็จ
ในระดับใด มีระบบหรือไม่ ควรจะปรับปรุงแก้ไข หรือไม่ อย่างไร
2. เพือให้ผู้อืนทีเกียวข้องได้ประเมินเจ้าของแฟ้มว่ามีความสามารถในการ เรียนรู้หรือการปฏิบัติงาน
เป็นอย่างไร ประสบผลสำเร็จในระดับใด ควรได้รับการช่วยเหลือพัฒนาหรือไม่ อย่างไร

ความรู้จาก Group Work set 2gr  1:เว็บเควส (WebQuest): ความหมาย องค์ประกอบ
การประยุกต์ ใช้ทางการศึกษา ภารกิจ-ชินงาน(Taskology)
ความหมายของเว็บเควส
การแสวงหาความรู้บนแหล่งต่างๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นฐานในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ควารมู้จากการค้นคว้าด้วยตนเอง
ผู้เรียนสามารถหาความรู้และข้อมูลทีเกียวข้องทังหมดจากแหล่งทรัพยากรทีกำหนดให้จาก Internet
ลักษณะ ทีสำคัญของเว็บเควส คือ การแสดงเพียงโครงร่างเนือหา เป็นกรอบของความรู้ทีผู้เรียนต้องการ
หรือควรจะศึกษา ไมมุ่งแสดงเนือหารายละเอียดของความรู้ ทีชีชัดลงไปโดยตรง ดังเช่น บทเรียนคอม
พิวเตอร์ช่วยสอนทั่วไป ทีผู้ออกแบบจะระบุเนือหาเพียงแค่เฉพาะ ตามกรอบวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ทีต้องการเท่านัน
วิธีการเข้าสู่เนือหาความรู้ต่างๆของเว็บเควส ทำโดยใช้การเชือมโยงจากหน้าเว็บเพจหลักของ
กรอบโครงสร้างเนือหาทีผู้ออกแบบจัดกลุ่ม เรียบเรียง และลำดับขั้นตอนการทำกิจกรรมเอาไว ไปยัง
แหล่งความรู้อืนๆ บนเว็บไซต์ ทีผู้สอนหรือผู้ออกแบบ ได้สืบค้น รวบรวมมาก่อนล่วงหน้า และพิจารณา
เห็นว่า มีเนือหาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ทีต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน
********************************************************************
ความรู้จาก Group Work set 2gr  2 :องค์ประกอบของบทเรียน WebQuest
ขันตอนการพัฒนาบทเรียนเว็บเควส
1.               การเลือกหัวเรืองทีจะทำเว็บเควส
2.               การเลือกรูปแบบทีจะใช้สอน
3.               การเลือกเครื่องมือทีจะใช้พัฒนา
4.               การออกแบบการประเมินผล
5.               การพัฒนากระบวนการ
6.               การตรวจสอบข้อมูลทั้งหมด
7.               การประเมินผล
******************************************************************************
ขั้นตอนวิธีการจัดทำเว็บเควส สือทีครูทำเพิม การจัดวางเมนู ผลงานผู้เรียน
ลักษณะทีดีของเว็บเควส (Web Quest)
1. ง่ายต่อความเข้าใจในการใช้
2. ใช้แหล่งความรู้ทีดีและมีคุณภาพ
3. บทเรียนจูงใจผู้เรียน
4. อธิบายขันตอนภารกิจชัดเจน
5. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์และสังเคราะห ์
6. เสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ทีสนุกสนานแก่ผู้เรียน
7. ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเครืองมือสืบค้นข้อมูล
8. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม
******************************************************************************
 ความรู้จาก Group Work set 2gr  3 ตัวอย่างเว็บเควส แบบใหม่
การวิเคราะห์รูปแบบกิจกรรม และ เว็บอ้างอิง
เว็บเควสแนวคิดใหม่ ได้กล่าวถึงการอัปเดตรูปแบบบทเรียน Taskonomy WebQuest โดยมีการ
ปรับปรุงสำคัญ ที่ระบุไว้ใน QuestGarden และ มีการทดสอบรุ่นเบต้าต่าง ๆ ส่วนการพัฒนาทีน่าสนใจทีสุด
ได้แก่ การออกแบบโดยยึดถือแนวคิด ภารกิจ/ชินงานแบบ Authentic Constructivist คือเน้นการให้ผู้เรียน
พัฒนาองค์ความรู้ขึนมาได้ด้วยตนเองในสถานการณ์จริง ทำให้เกิดการออกแบบบทเรียนทีซับซ้อนและ
เชือมโยงกันระหว่างรูปแบบต่าง ๆ ขึนมา
ความรู้จาก Group Work set 1gr  3 : Online Learning – Blended Learning